[การศึกษาสายสามัญ] |
||
การรับสมัคร |
โครงสร้าง/หลักสูต |
ทะเบียนการประเมินผลการเรียน |
|
|
|
การรับสมัคร นักเรียน ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน
ระดับประถมศึกษา
1.
คุณสมบัติของนักศึกษา
1 สัญชาติไทย
2 ไม่จำกัดพื้นความรู้
3 พ้นเกณฑ์การศึกษาภาคบังคับหรือได้รับการยกเว้น
4 ภิกษุ
สามเณร ต้องสอบได้นักธรรมชั้นตรี
2.
หลักฐานการสมัคร
1 ใบสมัคร
2 รูปถ่าย 1 นิ้ว จำนวน 3 รูป ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ
ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน
3 สำนักทะเบียนบ้าน
พร้อมฉบับจริงไปแสดง
4 หลักฐานแสดงผลการเรียน
5 หลักฐานเปลี่ยนชื่อ สกุล ทะเบียนสมรส (ถ้ามี)
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
1. คุณสมบัติของนักศึกษา
1.สัญชาติไทย
2.สอบได้วุฒิอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ ป. 6, ป.7 นักธรรมเอก หลักสูตร กศน.ระดับประถม
3.ภิกษุ สามเณร ต้องสอบได้นักธรรมชั้นโท
2. หลักฐานการสมัคร
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1. คุณสมบัติของนักศึกษา
1. สัญชาติไทย
2. สอบได้วุฒิอย่างใดอย่างหนึ่ง คือ
2. หลักฐานการสมัคร
1.. ใบสมัคร
2.. รูปถ่าย 1 นิ้ว จำนวน 3 รูป ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่นตาดำ ถ่ายไว้ไม่เกิน 6 เดือน
การลงทะเบียน
ภาคเรียนที่ 1 ระหว่างวันที่ 1 -
30 เมษายน ขยายได้ 20 วัน
ภาคเรียนที่ 2 ระหว่างวันที่ 1 - 31 ตุลาคม
ขยายได้ 20 วัน
เปิดภาคเรียน
ภาคเรียนที่ 1 เปิดเรียน 16
พฤษภาคม
ภาคเรียนที่ 2 เปิดเรียน 1
พฤศจิกายน
หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนสายสามัญ
กรมการศึกษานอกโรงเรียน ได้ปรับปรุงหลักสูตรเดิม คือ หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ ระดับที่ 1 2 หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ ระดับที่ 3 4 หลักสูตรการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จ ระดับที่ 5 ให้เป็น หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยให้มีวิธีเรียน 3 วิธี คือ วิธีเรียนชั้นเรียน (Classroom Learning) วิธีเรียนทางไกล (Distance Learning) และวิธีเรียนด้วยตนเอง (Independent Learning) วิธีเรียนทั้ง 3 วิธีนี้ ผู้เรียนสามารถเรียนได้พร้อมกัน แต่ไม่ซ้ำวิชา
หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนระดับประถมศึกษา พ.ศ. 2531
หลักการ มี 4
ข้อ
1 เป็นการจัดการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
อันเป็นพื้นฐานให้เห็นช่องทางสำหรับประกอบอาชีพ
2 มุ่งให้ผู้เรียนนำประสบการณ์ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
อนาคต
3 มุ่งสร้างเอกภาพของชาติ
4 มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองดี
จุดมุ่งหมาย มี 7 ข้อ
ประการ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับตนเอง สังคมสิ่งแวดล้อม และข้อมูลที่เกี่ยวกับวิชาการ
โครงสร้างของหลักสูตร
1.1 พื้นฐาน 1 (100 สภาพ) แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ประกอบด้วย
- อนามัย 34 สภาพ
- การใช้ตัวเลขอารบิค ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ ไม่เกิน 7 หลัก
- การบวก จำนวนที่มีผลลัพธ์หรือผลบวกไม่เกิน 7 หลัก
- การลบ ความหมายของการลบ การลบระหว่างจำนวน ไม่เกิน 7 หลัก
- การคูณ ความหมายการคูณ และสัญลักษณ์ ระหว่างการคูณไม่เกิน 3 หลัก
- การหาร หารสั้นและหารยาวหลักเดียว เมื่อตัวเลขไม่เกิน 3 หลัก
- การชั่ง ตวง วัด เงิน เวลา
1.2 พื้นฐาน 2 (50 สภาพ) แบ่งเป็น 9 กลุ่ม ประกอบด้วย
- การศึกษา 2 สภาพ
- สังคม 15 สภาพ
- การเมือง 2 สภาพ
- อาชีพ เศรษฐกิจ 4 สภาพ- วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีชนบท 6 สภาพ
- นิเวศน์วิทยา 10 สภาพ
- อนามัย - สุขาภิบาล 6 สภาพ
- โภชนาการ 3 สภาพ
- การสื่อสาร 2 สภาพ3. พื้นฐาน 3(30สภาพ)บูรณาการจากอาชีพท้องถิ่นทักษะภาษาไทยและทักษะคณิตศาสตร์ ดังนี้
ทักษะคณิตศาสตร์พื้นฐาน 1 และ 1 ประกอบด้วย เนื้อหา ดังนี้
4. พื้นฐาน 4 (10 สภาพ) มี 2 ตอน คือ
ตอนที่ 1 ภาคทฤษฎีเกี่ยวกับกิจกรรมพบกลุ่ม
ตอนที่ 2 ภาคปฏิบัติกิจกรรมการพบกลุ่ม
ภาษาต่างประเทศ 1 20
สภาพ
ภาษาต่างประเทศ 2 20
สภาพ
อาชีพ (ทักษะ) 30,60 สภาพ
เลือกเรียนหรือเทียบโอน ได้ไม่น้อยกว่า 30 หรือ 60 สภาพ โดยใช้เวลา 3 ชั่วโมง/
สภาพ
เวลาเรียน
และกลุ่มสภาพประสบการณ์เสริม (เลือก) ไม่น้อยกว่า 60 สภาพ รวมแล้วไม่น้อยกว่า 250 สภาพ
เกณฑ์การจบหลักสูตร
ต้องสอบได้กลุ่มสภาพประสบการณ์พื้นฐาน (บังคับ) 190 สภาพ และกลุ่มสภาพ
ประสบการณ์เสริม(เลือก)ไม่น้อยกว่า60สภาพรวม250สภาพใช้เวลาเรียนไม่น้อยกว่า500ชั่วโมงยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียนอาจจบได้ก่อนกำหนด
หลักสูตรการศึกษานอกโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ 2530
หลักการ หลักการของหลักสูตร มี 8 ข้อ
เป็นอาชีพต่อไป
ปฏิบัติ และประกอบอาชีพได้จริง
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
และการพัฒนาสังคม
ประกอบการ และสถานประกอบอาชีพอิสระ
จุดมุ่งหมาย
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรมี 7 ข้อ
สุจริต
ใฝ่หาความรู้ รักการทำงาน สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ
ทางในการประกอบสัมมาชีพ
กฎหมาย จริยธรรมและศาสนา
ประชาธิปไตย
ปัจจุบัน มีความสำนึกในการเป็นส่วนหนึ่งของมนุษย์ รู้จักแก้ปัญหา
โครงสร้างของหลักสูตร
- วิทยาศาสตร์ 1(วิทยาศาสตร์กายภาพชีวิภาพ) เลือกเรียนวิทยาศาสตร์ 3 ไม่ได้
- วิทยาศาสตร์ 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวิวิทยา) เลือกเรียนวิทยาศาสตร์ 3 ได้
- ช่างอุตสาหกรรม
- เกษตรกรรม
- คหกรรม
- พานิชยกรรม
- ศิลปหัตถกรรม
- ศิลปกรรม2. หมวดวิชาเลือก เดิม 6 หมวดวิชา และเพิ่มเติม 10 หมวดวิชา (เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 39 หน่วยการเรียน) ได้แก่
(1) ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ มี 7 รายวิชา ๆ ละ 3 หน่วยการเรียน
(2) คอมพิวเตอร์ มี 16 รายวิชา
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 2 หน่วยการเรียน
- โปรแกรมการฝึกพิมพ์ 1 หน่วยการเรียน
- โปรแกรมประมวลผลคำเบื้องต้น 2 หน่วยการเรียน
- โปรแกรมประมวลผลคำขั้นสูง 2 หน่วยการเรียน
หมวดวิชาพื้นฐานเฉพาะอาชีพ
หมวดวิชาเสริมอาชีพ
ผู้เรียนสามารถ ลงทะเบียนเรียนได้ทุกวิธีเรียน (- ตนเอง - ทางไกล - ชั้นเรียน
วิธีอื่นตามที่กรมการศึกษานอกโรงเรียนกำหนด) และนำผลการเรียนแต่ละวิธีมาประเมินผลร่วมกัน กับทั้งสามารถโอนผลการเรียนระหว่างการศึกษาในระบบ กับการศึกษานอกระบบได้ด้วย
ในปีการศึกษาหนึ่ง ๆ ให้แบ่งภาคการเรียนออกเป็น 2 ภาค และอาจเปิดภาคฤดูร้อน
นักศึกษาต้องมีเวลาเรียนตามหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 4 ภาคเรียน ยกเว้นกรณีที่มีการเทียบโอนผลการเรียน
เกณฑ์การจบหลักสูตร
นักศึกษาที่จะจบหลักสูตร มัธยมศึกษาตอนปลายได้ จะต้องผ่านเกณฑ์ ดังนี้
3 หมวดวิชา (39 หน่วยการเรียน) รวมแล้ว 8 หมวดวิชา ไม่น้อยกว่า 75 หน่วยการเรียน
กิจกรรม กพช.
กิจกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็นกิจกรรมบังคับ ตามหลักสูตร ผู้เรียนจะต้องร่วมกิจกรรมตามที่กรมการศึกษานอกโรงเรียนกำหนด คือ กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการทำงาน โดยใช้กระบวนการกลุ่ม
วัตถุประสงค์
ทักษะความมีเหตุผล หารคิดเป็น ทำเป็น และแก้ปัญหาเป็น
ส่วนหนึ่งของชุมชน และสังคมอย่างแน่นแฟ้น อีกทั้งมีบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของสังคมและชุมชน
ความรับผิดชอบ และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
ลักษณะของกิจกรรม
ขอบข่ายการจัดกิจกรรม จัดเป็น 2 ตอน ได้แก่
1.10.กระบวนการกลุ่มและการแก้ปัญหาสังคม
1.11 คุณสมบัติที่ดีในการอยู่ร่วมกันในสังคม
เกณฑ์การจัด
ระดับประถมศึกษา เรียนภาคทฤษฎี 20 ชั่วโมง และทำกิจกรรม 20 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคทฤษฎี 10 ชั่วโมง และทำกิจกรรม 42 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคทฤษฎี 10 ชั่วโมง และทำกิจกรรม 48 ชั่วโมง
การประเมินกิจกรรม ประเมินจาก
ลักษณะการสอนที่ดี การสอนที่ดีควรมีลักษณะ ดังนี้
มีความหมาย
ยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน การทำงานร่วมกับผู้อื่น
ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
เรียนได้ง่ายขึ้น
และดูผลการปฏิบัติของตนเอง
คิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาง่าย ๆ เด็กคิดหาเหตุผลเปรียบเทียบ และพิจารณาความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ
ประโยชน์ไม่เลียนแบบใคร ส่งเสริมกิจกรรมสุนทรียภาพ ร้อยกรอง วาดภาพ และแสดงละคร
เกียรติ การลงโทษ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความสนใจ ตั้งใจ ขยันหมั่นเพียรในการเรียนและทำกิจกรรม
มีการรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เคารพความคิดเห็นของผู้อื่น ยกย่องความคิดเห็นที่ดี นักเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนร่วมกับครู
เพื่อให้แน่ใจว่าการสอนของครูตรงตามจุดประสงค์มากที่สุด
หลักฐานการศึกษา
ให้สถานศึกษาจัดให้มีเอกสารต่อไปนี้ (ระเบียบข้อ 16)
การสอบซ่อม
ข้อกำหนดของการสอบซ่อม
ผู้มีสิทธิสอบซ่อม
ขั้นตอนการสอบซ่อม
ในภาคเรียนถัดไป
ทะเบียนการประเมินผลการเรียน
การบันทึกเวลาพบกลุ่ม ให้บันทึกเวลาพบกลุ่ม
และการประเมินผลการเรียนเป็นรายหมวดวิชา ให้บันทึกเวลาพบกลุ่ม
และการประเมินผลการเรียนเป็นรายหมวดวิชา
การบันทึกการประเมินผลการเรียน อัตราส่วนคะแนนระหว่างภาคและปลายภาค
เกณฑ์ของการผ่านหมวดวิชา ให้บันทึกตามข้อต่อไปนี้
เช่น PORT FOLIO หรือ PROJECT DESING การทำรายงาน
การออกหลักฐานการศึกษา
1. ใบรับรอง
ขั้นตอนการออกใบรับรอง
2. ระเบียนแสดงผลการเรียน
ขั้นตอนการออกระเบียนแสดงผลการเรียน
1. นักศึกษายื่นคำร้องตามแบบพร้อมรูปถ่าย 4 x 5 ซม.จำนวน 2 รูป
2.. เจ้าหน้าที่ทะเบียนตรวจสอบแล้วลงทะเบียนคำร้อง
4. นำข้อมูลบันทึกข้อมูลในโปรแกรม IT
7. หัวหน้าสถานศึกษาลงนามใบรับรอง